วันเสาร์ที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

รูปแบบการเรียนการสอน

  1.           1.1 รูป แบบการเรีย นการสอนทิศนา แขมมณี (2545: 221-296) กล่าวว่า จากการสังเกตและวิเคราะห์ผลงานของนักการศึกษาผู้ค้นคิดระบบและรูปแบบการจัดการเรียนการสอนต่าง ๆ พบว่านักการศึกษานิยมใช้คำาว่า“ระบบ” ในความหมายที่เป็นระบบใหญ่ ๆ เช่นระบบการศึกษา หรือถ้าเป็นระบบการเรียนการสอน ก็จะครอบคลุมองค์ประกอบสำาคัญ ๆ ของการเรียนการสอนในภาพรวม และนิยมใช้คำาว่า“รูปแบบ” กับระบบที่ย่อยกว่า โดยเฉพาะกับ “วิธีสอน” ซึ่งเป็นองค์ประกอบย่อยที่สำาคัญของระบบการเรียนการสอน ดังนันการนำาวิธีสอนใด ๆ มาจัดทำาอย่างเป็นระบบตามหลักและวิธีการจัดระบบ ้แล้ว วิธีสอนนั้นก็จะกลายเป็น “ระบบวิธีสอน” หรือที่นิยมเรียกว่า “รูปแบบการเรียนการสอน”รูป แบบการเรีย นการสอนที่เ ป็น สากล รูปแบบการเรียนการสอนที่เป็นสากลซึ่ง รองศาสตราจารย์ ดร. ทิศนา แขมมณี ได้คด ัเลือกมานำาเสนอล้วนได้รับการพิสูจน์ทดสอบประสิทธิภาพมาแล้วและมีผู้นิยมนำาไปใช้ในการเรียนการสอนโดยทั่วไป แต่เนื่องจากรูปแบบการเรียนการสอนดังกล่าวมีจำานวนมาก เพื่อความสะดวกในการศึกษาและการนำาไปใช้จึงได้จัดหมวดหมู่ของรูปแบบเหล่านั้นตามลักษณะของวัตถุประสงค์เฉพาะหรือเจตนารมณ์ของรูปแบบ ซึ่งสามารถจัดกลุ่มได้เป็น 5 หมวดดังนี้ 
  2. 1. รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาด้านพุทธิพิสัย(Cognitive domain) 
  3. 2. รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาด้านจิตพิสัย(Affective domain) 
  4. 3. รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาด้านทักษะพิสัย(Psycho-motor domain) 
  5. 4. รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาทักษะกระบวนการ(Process skill) 
  6. 5. รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นการบูรณาการ(Integration) เนื่องจากจำานวนรูปแบบและรายละเอียดของแต่ละ           รูปแบบมากเกินกว่าที่จะนำาเสนอไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมด จึงได้คัดสรรและนำาเสนอเฉพาะรูปแบบที่ รองศาสตราจารย์ ดร.ทิศนา แขมมณีประเมินว่าเป็นรูปแบบที่จะเป็นประโยชน์ต่อครูส่วนใหญ่และมีโอกาสนำาไปใช้ได้มาก โดยจะนำาเสนอเฉพาะสาระที่เป็นแก่นสำาคัญของรูปแบบ 4 ประการ คือ ทฤษฎีหรือหลักการของรูปแบบวัตถุประสงค์ของรูปแบบ กระบวนการของรูปแบบ และผลที่จะได้รับจากการใช้รูปแบบ ซึ่งจะช่วยให้ผู้อ่านได้ภาพรวมของรูปแบบ อันจะช่วยให้สามารถตัดสินใจในเบื้องต้นได้วาใช้รูปแบบใด ่ตรงกับความต้องการของตน หากตัดสินใจแล้ว ต้องการรายละเอียดเพิ่มเติมในรูปแบบใดสามารถไปศึกษาเพิ่มเติมได้จากหนังสือซึ่งให้รายชื่อไว้ในบรรณานุกรม อนึ่ง รูปแบบการเรียนการสอนที่นำาเสนอนี้ ล้วนเป็นรูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางทั้งสิ้น เพียงแต่มีความแตกต่างกันตรงจุดเน้นของด้านที่ต้องการพัฒนาใน

  7.           2.2ตัวผู้เรียนและปริมาณของการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนซึ่งมีมากน้อยแตกต่างกัน อย่างไรก็ตาม ท่านผู้อ่านพึงระลึกอยู่เสมอว่า แม้รูปแบบแต่ละหมวดหมู่จะมีจุดเน้นที่แตกต่างกัน ก็มิได้หมายความว่า รูปแบบนันไม่ได้ใช้ หรือพัฒนาความสามารถทางด้านอื่น ๆ เลย อันที่ ้จริงแล้ว การสอนแต่ละครังมักประกอบไปด้วยองค์ประกอบทั้งทางด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัย และ ้ทักษะพิสัย รวมทั้งทักษะกระบวนการทางสติปัญญา เพราะองค์ประกอบทั้งหมดมีความเกี่ยวพันกันอย่างใกล้ชิด การจัดหมวดหมู่ของรูปแบบเป็นเพียงเครื่องแสดงให้เห็นว่า รูปแบบนัน มี ้วัตถุประสงค์หลักมุ่งเน้นไปทางใดเท่านัน แต่ส่วนประกอบด้านอื่น ๆ ก็ยังคงมีอยู่ เพียงแต่จะมี ้น้อยกว่าจุดเน้นเท่านั้น1. รูป แบบการเรีย นการสอนที่เ น้น การพัฒ นาด้า นพุท ธิพ ิส ย ั(cognitive domain)รูปแบบการเรียนการสอนในหมวดนี้ เป็นรูปแบบการเรียนการสอนที่มุ่งช่วยให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาสาระต่าง ๆ ซึ่งเนื้อหาสาระนั้นอาจอยู่ในรูปของข้อมูล ข้อเท็จจริง มโนทัศน์ หรือความคิดรวบยอด รูปแบบที่คัดเลือกมานำาเสนอในที่นี้มี 5 รูปแบบ ดังนี้ 1.1 รูปแบบการเรียนการสอนมโนทัศน์ 1.2 รูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดของกานเย 1.3 รูปแบบการเรียนการสอนโดยการนำาเสนอมโนทัศน์กว้างล่วงหน้า 1.4 รูปแบบการเรียนการสอนเน้นความจำา 1.5 รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้ผังกราฟิก1.1 รูป แบบการเรีย นการสอนมโนทัศ น์ (Concept Attainment Model)ก. ทฤษฎี/ หลัก การ/แนวคิด ของรูป แบบ จอยส์แ ละวีล (Joyce & Weil, 1996: 161-178)พัฒนารูปแบบนี้ขึ้นโดยใช้แนวคิดของ บรุนเนอร์ กู๊ดนาว และออสติน (Bruner, Goodnow,และ Austin) การเรียนรู้มโนทัศน์ของสิ่งใดสิ่งหนึ่งนั้น สามารถทำาได้โดยการค้นหาคุณสมบัติเฉพาะที่สำาคัญของสิ่งนั้น เพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการจำาแนกสิ่งที่ใช่และไม่ใช่สิ่งนันออกจากกันได้ ้ข. วัต ถุป ระสงค์ข องรูป แบบ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้มโนทัศน์ของเนื้อหาสาระต่าง ๆ อย่างเข้าใจ และสามารถให้คำานิยามของมโนทัศน์นั้นด้วยตนเองค. กระบวนการเรีย นการสอนของรูป แบบขั้น ที่ 1 ผู้สอนเตรียมข้อมูลสำาหรับให้ผู้เรียนฝึกหัดจำาแนกผู้สอนเตรียมข้อมูล 2 ชุด ชุดหนึ่งเป็นตัวอย่างของมโนทัศน์ที่ต้องการสอน อีกชุดหนึ่งไม่ใช่ตัวอย่างของมโนทัศน์ที่ต้องการสอน ในการเลือกตัวอย่างข้อมูล 2 ชุดข้างต้น ผู้สอนจะต้องเลือกหาตัวอย่างที่มีจำานวนมากพอที่จะครอบคลุมลักษณะของมโนทัศน์ที่ต้องการนั้น ถ้ามโนทัศน์ที่ต้องการสอนเป็นเรื่องยากและซับซ้อนหรือเป็นนามธรรม อาจใช้วิธีการยกเป็นตัวอย่างเรื่องสั้น ๆ
  8.          
  9.          3.3ที่ผู้สอนแต่งขึ้นเองนำาเสนอแก่ผู้เรียน ผู้สอนเตรียมสื่อการสอนที่เหมาะสมจะใช้นำาเสนอตัวอย่างมโนทัศน์เพื่อแสดงให้เห็นลักษณะต่าง ๆ ของมโนทัศน์ที่ต้องการสอนอย่างชัดเจนขั้น ที่ 2 ผู้สอนอธิบายกติกาในการเรียนให้ผู้เรียนรูและเข้าใจตรงกัน ้ผู้สอนชี้แจงวิธีการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเข้าใจก่อนเริ่มกิจกรรมโดยอาจสาธิตวิธีการและให้ผู้เรียนลองทำาตามที่ผู้สอนบอกจนกระทั่งผู้เรียนเกิดความเข้าใจพอสมควรขั้น ที่ 3 ผู้สอนเสนอข้อมูลตัวอย่างของมโนทัศน์ที่ต้องการสอน และข้อมูลที่ไม่ใช่ตัวอย่างของมโนทัศน์ที่ต้องการสอน การนำาเสนอข้อมูลตัวอย่างนี้ทำาได้หลายแบบ แต่ละแบบมีจุดเด่น- จุดด้อย ดังต่อไปนี้ 1) นำาเสนอข้อมูลที่เป็นตัวอย่างของสิ่งที่จะสอนทีละข้อมูลจนหมดทั้งชุด โดยบอกให้ผู้เรียนรู้ว่าเป็นตัวอย่างของสิ่งที่จะสอนแล้วตามด้วยข้อมูลที่ไม่ใช่ตัวอย่างของสิ่งที่จะสอนทีละข้อมูลจนครบหมดทั้งชุดเช่นกัน โดยบอกให้ผู้เรียนรู้ว่าข้อมูลชุดหลังนีไม่ใช่สิ่งที่จะสอน ผู้เรียน ้จะต้องสังเกตตัวอย่างทั้ง 2 ชุด และคิดหาคุณสมบัติร่วมและคุณสมบัติที่แตกต่างกัน เทคนิควิธีนี้สามารถช่วยให้ผู้เรียนสร้างมโนทัศน์ได้เร็วแต่ใช้กระบวนการคิดน้อย 2) เสนอข้อมูลที่ใช่และไม่ใช่ตัวอย่างของสิ่งที่จะสอนสลับกันไปจนครบ เทคนิควิธีนี้ช่วยสร้างมโนทัศน์ได้ช้ากว่าเทคนิคแรก แต่ได้ใช้กระบวนการคิดมากกว่า 3) เสนอข้อมูลที่ใช่และไม่ใช่ตัวอย่างของสิ่งที่จะสอนอย่างละ 1 ข้อมูล แล้วเสนอข้อมูลที่เหลือทั้งหมดทีละข้อมูลโดยให้ผู้เรียนตอบว่าข้อมูลแต่ละข้อมูลที่เหลือนันใช่หรือไม่ใช่ตัวอย่าง ้ที่จะสอน เมื่อผู้เรียนตอบ ผู้สอนจะเฉลยว่าถูกหรือผิด วิธีนี้ผู้เรียนจะได้ใช้กระบวนการคิดในการทดสอบสมมติฐานของตนไปทีละขั้นตอน. 4) เสนอข้อมูลที่ใช่และไม่ใช่ตัวอย่างสิ่งที่จะสอนอย่างละ 1 ข้อมูล แล้วให้ผู้เรียนช่วยกันยกตัวอย่างข้อมูลที่ผู้เรียนคิดว่าใช่ตัวอย่างของสิ่งที่จะสอน โดยผู้สอนจะเป็นผู้ตอบว่าใช่หรือไม่ใช่ วิธีนี้ผู้เรียนจะมีโอกาสคิดมากขึ้นอีกขั้น ที่ 4 ให้ผู้เรียนบอกคุณสมบัติเฉพาะของสิ่งที่ต้องการสอนจากกิจกรรมที่ผ่านมาในขั้นต้น ๆ ผู้เรียนจะต้องพยามหาคุณสมบัติเฉพาะของตัวอย่างที่ใช่และไม่ใช่สิ่งที่ผู้เรียนต้องการสอนและทดสอบคำาตอบของตน หากคำาตอบของตนผิดผู้เรียนก็จะต้องหาคำาตอบใหม่ซึ่งก็หมายความว่าต้องเปลี่ยนสมมติฐานที่เป็นฐานของคำาตอบเดิม ด้วยวิธีนี้ผู้เรียนจะค่อย ๆ สร้างความคิดรวบยอดของสิ่งนั้นขึ้นมา ซึ่งก็จะมาจากคุณสมบัติเฉพาะของสิ่งนั้นนันเอง ่ขั้น ที่ 5 ให้ผู้เรียนสรุปและให้คำาจำากัดความของสิ่งที่ต้องการสอนเมื่อผู้เรียนได้รายการของคุณสมบัติเฉพาะของสิ่งที่ต้องการสอนแล้ว ผู้สอนให้ผู้เรียนช่วยกันเรียบเรียงให้เป็นคำานิยามหรือคำาจำากัดความขั้น ที่ 6 ผู้สอนและผู้เรียนอภิปรายร่วมกันถึงวิธีการที่ผู้เรียนใช้ในการหาคำาตอบ

  10.          4.4ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับกระบวนการคิดของตัวเองง. ผลที่ผ ู้เ รีย นจะได้ร ับ จากการเรีย นตามรูป แบบเนื่องจากผู้เรียนเกิดการเรียนรู้มโนทัศน์ จากการคิด วิเคราะห์และตัวอย่างที่หลากหลาย ดังนั้นผลที่ผู้เรียนจะได้รับโดยตรงคือ จะเกิดความเข้าใจในมโนทัศน์นั้น และได้เรียนรู้ทักษะการสร้างมโนทัศน์ซึ่งสามารถนำาไปใช้ในการทำาความเข้าใจมโนทัศน์อื่น ๆต่อไปได้ รวมทั้งช่วยพัฒนาทักษะการใช้เหตุผลโดยการอุปนัย(Inductive reasoning) อีกด้วย1.2 รูป แบบการเรีย นการสอนตามแนวคิด ของกานเย (Gagne’sInstructional Model)ก. ทฤษฎี/ หลัก การ/แนวคิด ของรูป แบบกานเย (Gagne, 1985: 70-90) ได้พัฒนาทฤษฎีเงื่อนไขการเรียนรู้ (Condition of Learning) ซึ่งมี 2 ส่วนใหญ่ ๆ คือ ทฤษฎีการเรียนรู้ และทฤษฎีการจัดการเรียนการสอน ทฤษฎีการเรียนรู้ของกานเยอธิบายว่าปรากฏการณ์การเรียนรู้มีองค์ประกอบ 3 ส่วนคือ1) ผลการเรียนรู้หรือความสามารถด้านต่าง ๆ ของมนุษย์ ซึ่งมีอยู่ 5 ประเภทคือทักษะทางปัญญา (Intellectual skill) ซึ่งประกอบด้วยการจำาแนกแยกแยะ การสร้างความคิดรวบยอด การสร้างกฎ การสร้างกระบวนการหรือกฎชั้นสูง ความสามารถด้านต่อไปคือ กลวิธีในการเรียนรู้ (cognitive Strategy) ภาษาหรือคำาพูด (verbal information) ทักษะการเคลื่อนไหว(motor skill) และเจตคติ (attitude)2) กระบวนการเรียนรู้และจดจำาของมนุษย์ มนุษย์มีกระบวนการจัดกระทำาข้อมูลในสมอง ซึ่งมนุษย์จะอาศัยข้อมูลที่สะสมไว้มาพิจารณาเลือกจัดกระทำาสิ่งใดสิ่งหนึ่ง และขณะที่กระบวนการจัดกระทำาข้อมูลภายในสมองกำาลังเกิดขึ้นเหตุการณ์ภายนอกร่างกายมนุษย์มีอิทธิพลต่อการส่งเสริมหรือการยับยั้งการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นภายในได้ ดังนันในการจัดการเรียนการสอน กานเยจึงได้ ้เสนอแนะว่า ควรมีการจัดสภาพการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับการเรียนรู้แต่ละประเภท ซึ่งมีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างกัน และส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ภายในสมอง โดยจัดสภาพการณ์ภายนอกให้เอื้อต่อกระบวนการเรียนรู้ภายในของผู้เรียนข. วัต ถุป ระสงค์ข องรูป แบบ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้เนื้อหาสาระต่าง ๆ ได้อย่างดีรวดเร็ว และสามารถจดจำาสิ่งที่เรียนได้นานค. กระบวนการเรีย นการสอนของรูป แบบการเรียนการสอนตามรูปแบบของกานเย ประกอบด้วยการดำาเนินการเป็นลำาดับขั้นตอนรวม 9ขั้นดังนี้ ขั้นที่ 1 การกระตุ้นและดึงดูดความสนใจของผู้เรียน เป็นการช่วยให้ผู้เรียนสามารถรับสิ่งเร้า หรือสิ่งที่จะเรียนรู้ได้ดี

  11.          5.5 ขั้นที่ 2 การแจ้งวัตถุประสงค์ของการเรียนให้ผู้เรียนทราบ เป็นการช่วยให้ผู้เรียนได้รับรู้ความคาดหวัง ขั้นที่ 3 การกระตุ้นให้ระลึกถึงความรู้เดิม เป็นการช่วยให้ผู้เรียนดึงข้อมูลเดิมที่อยู่ในหน่วยความจำาระยะยาวให้มาอยู่ในหน่วยความจำาเพื่อใช้งาน (working memory) ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความพร้อมในการเชื่อมโยงความรูใหม่กับความรู้เดิม ้ ขั้นที่ 4 การนำาเสนอสิ่งเร้าหรือเนื้อหาสาระใหม่ ผู้สอนควรจะจัดสิ่งเร้าให้ผู้เรียนเห็นความสำาคัญของสิ่งเร้านั้นอย่างชัดเจน เพื่อความสะดวกในการเลือกรับรู้ของผู้เรียน ขั้นที่ 5 การให้แนวการเรียนรู้ หรือการจัดระบบข้อมูลให้มีความหมาย เพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถทำาความเข้าใจกับสาระที่เรียนได้งายและเร็วขึ้น ่ ขั้นที่ 6 การกระตุ้นให้ผู้เรียนแสดงความสามารถ เพื่อให้ผู้เรียนมีโอกาสตอบสนองต่อสิ่งเร้าหรือสาระที่เรียน ซึ่งจะช่วยให้ทราบถึงการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นในตัวผู้เรียน ขั้นที่ 7 การให้ข้อมูลป้อนกลับ เป็นการให้การเสริมแรงแก่ผู้เรียน และข้อมูลที่เป็นประโยชน์กับผู้เรียน ขั้นที่ 8 การประเมินผลการแสดงออกของผู้เรียน เพื่อช่วยให้ผู้เรียนทราบว่าตนเองสามารถบรรลุวัตถุประสงค์มากน้อยเพียงใด ขั้นที่ 9 การส่งเสริมความคงทนและการถ่ายโอนการเรียนรู้ โดยการให้โอกาสผู้เรียนได้มีการฝึกฝนอย่างพอเพียงและในสถานการณ์ที่หลากหลาย เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจที่ลึกซึ้งขึ้น และสามารถถ่ายโอนการเรียนรู้ไปสู่สถานการณ์อื่น ๆ ได้ง. ผลที่ผ ู้เ รีย นจะได้ร ับ จากการเรีย นตามรูป แบบเนื่องจากการเรียนการสอนตามรูปแบบนี้ จัดขึ้นให้ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และจดจำาของมนุษย์ ดังนัน ผู้เรียนจะสามารถเรียนรู้สาระทีนำาเสนอได้อย่างดี รวดเร็วและจดจำาสิ่งที่เรียนรู้ได้ ้ ่นาน นอกจากนั้นผู้เรียนยังได้เพิ่มพูนทักษะในการจัดระบบข้อมูล สร้างความหมายของข้อมูลรวมทั้งการแสดงความสามารถของตนด้วย1.3 รูป แบบการเรีย นการสอนโดยการนำา เสนอมโนทัศ น์ก ว้า งล่ว งหน้า(Advance Organizer Model)

  12.          6.6ก. ทฤษฎี/ หลัก การ/แนวคิด ของรูป แบบการนำา เสนอมโนทัศ น์ก ว้า งล่ว งหน้า(Advanced Organizer) เพื่อการเรียนรู้อย่างมีความหมาย (meaningful verbal learning) การเรียนรู้จะมีความหมายเมื่อสิ่งที่เรียนรู้สามารถเชื่อมโยงกับความรู้เดิมของผู้เรียน ดังนันในการ ้สอนสิ่งใหม่ สาระความรู้ใหม่ ผู้สอนควรวิเคราะห์หาความคิดรวบยอดย่อย ๆ ของสาระที่จะนำาเสนอ จัดทำาผังโครงสร้างของความคิดรวบยอดเหล่านั้นแล้ววิเคราะห์หามโนทัศน์หรือความคิดรวบยอดที่กว้างครอบคลุมความคิดรวบยอดย่อย ๆ ที่จะสอน หากครูนำาเสนอมโนทัศน์ที่กว้างดังกล่าวแก่ผู้เรียนก่อนการสอนเนื้อหาสาระใหม่ ขณะที่ผู้เรียนกำาลังเรียนรู้สาระใหม่ ผู้เรียนจะสามารถ นำาสาระใหม่นั้นไปเกาะเกี่ยวเชื่อมโยงกับมโนทัศน์กว้างที่ให้ไว้ล่วงหน้าแล้ว ทำาให้การเรียนรู้นั้นมีความหมายต่อผู้เรียนข. วัต ถุป ระสงค์ข องรูป แบบ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เนื้อหาสาระ ข้อมูลต่าง ๆ อย่างมีความหมายค. กระบวนการเรีย นการสอน ขั้น ที่ 1 การจัด เตรีย มมโนทัศ น์ก ว้า ง โดยการวิเคราะห์หามโนทัศน์ที่กว้างและครอบคลุมเนื้อหาสาระใหม่ทั้งหมด มโนทัศน์ที่กว้างนี้ ไม่ใช่สิ่งเดียวกับมโนทัศน์ใหม่ที่จะสอน แต่จะเป็นมโนทัศน์ในระดับที่เหนือขึ้นไปหรือสูงกว่า ซึ่งจะมีลักษณะเป็นนามธรรมมากกว่า ปกติมักจะเป็นมโนทัศน์ของวิชานันหรือสายวิชานั้น ควรนำาเสนอมโนทัศน์กว้างนีล่วงหน้าก่อนการสอน ้ ้จะเป็นเสมือนการ”preview” บทเรียน ซึ่งจะเป็นคนละอย่างกับการ”over view” หรือการให้ดูภาพรวมของสิ่งที่จะสอน การนำาเสนอภาพรวมของสิ่งที่จะสอน การทบทวนความรู้เดิม การซักถามความรู้และประสบการณ์ของผู้เรียนเกี่ยวกับเรื่องที่จะสอน การบอกวัตถุประสงค์ของการเรียนการสอน เหล่านี้ ไม่นับว่าเป็น “advance organizer” ซึ่งจะต้องมีลักษณะที่กว้างครอบคลุมและมีความเป็นนามธรรมอยูในระดับสูงกว่าสิ่งที่จะสอน ่ ขั้น ที่ 2 การนำา เสนอมโนทัศ น์ก ว้า ง 1) ผู้สอนชี้แจงวัตถุประสงค์ของบทเรียน 2) ผู้สอนนำาเสนอมโนทัศน์กว้างด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่นการบรรยายสั้น ๆ แสดง แผนผังมโนทัศน์ ยกตัวอย่าง หรือใช้การเปรียบเทียบ เป็นต้น ขั้น ที่ 3 การนำา เสนอเนื้อ หาสาระใหม่ข องบทเรีย น ผู้สอนนำาเสนอเนื้อหาสาระที่ต้องการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยวิธีการต่าง ๆ ตามปกติแต่ ในการนำาเสนอ ผู้สอนควรกล่าวเชื่อมโยงหรือกระตุ้นให้ผู้เรียนเชื่อมโยงกับมโนทัศน์ที่ ให้ไว้ล่วงหน้าเป็นระยะ ๆ ขั้น ที่ 4 การจัด โครงสร้า งความรู้ ผู้สอนส่งเสริมกระบวนการจัดโครงสร้าง ความรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น ส่ง เสริมการผสมผสานความรู้ กระตุ้นให้ผู้เรียนตื่นตัวในการเรียนรู้ และทำาความกระจ่างใน สิ่งที่เรียนรู้ โดยใช้วิธีการต่าง ๆ เช่น

  13.         7.7 1) อธิบายภาพรวมของเรื่องที่เรียน 2) สรุปลักษณะสำาคัญของเรื่อง 3) บอกหรือเขียนคำานิยามที่กะทัดรัดชัดเจน 4) บอกความแตกต่างของสาระในแง่มุมต่าง ๆ 5) อธิบายว่าเนื้อหาสาระที่เรียนสนับสนุนหรือส่งเสริมมโนทัศน์กว้างที่ให้ไว้ล่วงหน้า อย่างไร 6) อธิบายความเชื่อมโยงระหว่างเนื้อหาสาระใหม่กับมโนทัศน์กว้างที่ให้ไว้ล่วงหน้า 7) ยกตัวอย่างเพิ่มเติมจากสิ่งที่เรียน 8) อธิบายแก่นสำาคัญของสาระที่เรียนโดยใช้คำาพูดของตัวเอง 9) วิเคราะห์สาระในแง่มุมต่าง ๆง. ผลที่ผ ู้เ รีย นจะได้ร ับ จากการเรีย นรู้ต ามรูป แบบผลโดยตรงที่ผู้เรียนจะได้รับก็คือ เกิดการเรียนรู้ในเนื้อหาสาระและข้อมูลของบทเรียนอย่างมีความหมาย เกิดความคิดรวบยอดในสิ่งที่เรียน และสามารถจัดโครงสร้างความรู้ของตนเองได้ นอกจากนั้นยังได้พัฒนาทักษะและอุปนิสัยในการคิดและเพิ่มพูนความใฝ่รู้1.4 รูป แบบการเรีย นการสอนเน้น ความจำา (Memory Model)ก. ทฤษฎี/ หลัก การ/แนวคิด ของรูป แบบรูปแบบนี้พัฒนาขึ้นโดยอาศัยหลัก 6 ประการเกี่ยวกับ 1) การตระหนักรู้ (Awareness) ซึ่งกล่าวว่า การที่บุคคลจะจดจำาสิ่งใดได้ดนั้น ี จะต้องเริ่มจากการรับรู้สิ่งนั้น หรือการสังเกตสิ่งนั้นอย่างตั้งใจ 2) การเชื่อมโยง (Association) กับสิ่งที่รู้แล้วหรือจำาได้ 3) ระบบการเชื่อมโยง (Link system) คือระบบในการเชื่อมความคิดหลายความคิด เข้าด้วยกันในลักษณะที่ความคิดหนึ่งจะไปกระตุ้นให้สามารถจำาอีกความคิดหนึ่งได้ 4) การเชื่อมโยงที่น่าขบขัน (Ridiculous association) การเชื่อมโยงที่จะช่วยให้ บุคคลจดจำาได้ดีนน มักจะเป็นสิ่งที่แปลกไปจากปกติธรรมดา การเชื่อมโยงในลักษณะที่ ั้ แปลก เป็นไปไม่ได้ ชวนให้ขบขัน มักจะประทับในความทรงจำาของบุคคลเป็นเวลานาน 5) ระบบการใช้คำาทดแทน 6) การใช้คำาสำาคัญ (Key word) ได้แก่ การใช้คำา อักษร หรือพยางค์เพียงตัวเดียว เพื่อ ช่วยกระตุนให้จำาสิ่งอืน ๆ ที่เกี่ยวกันได้ ้ ่ข. วัต ถุป ระสงค์ข องรูป แบบรูปแบบนี้มีวตถุประสงค์ช่วยให้ผู้เรียนจดจำาเนื้อหาสาระที่เรียนรูได้ดีและได้นาน และได้ ั ้เรียนรู้กลวิธีการจำา ซึ่งสามารถนำาไปใช้ในการเรียนรู้สาระอื่น ๆ ได้อีกค. กระบวนการเรีย นการสอนของรูป แบบ

  14.           8.8ในการเรียนการสอนเนื้อหาสาระใด ๆ ผู้สอนสามารถช่วยให้ผู้เรียนจดจำาเนื้อหาสาระนั้นได้ดีและได้นานโดยดำาเนินการดังนี้ขั้นที่ 1 การสังเกตหรือศึกษาสาระอย่างตังใจ ้ผู้สอนช่วยให้ผู้เรียนตระหนักรู้ในสาระที่เรียน โดยการใช้เทคนิคต่าง ๆ เช่น ให้อ่านเอกสารแล้วขีดเส้นใต้คำา/ประเด็นที่สำาคัญ ให้ตั้งคำาถามจากเรื่องที่อ่าน ให้หาคำาตอบของคำาถามต่าง ๆเป็นต้นขั้นที่ 2 การสร้างความเชื่อมโยงเมื่อผู้เรียนได้ศึกษาสาระที่ต้องการเรียนรูแล้ว ให้ผู้เรียนเชื่อมโยงเนื้อหาส่วนต่าง ๆ ้ที่ต้องการจดจำากับสิ่งที่ตนคุนเคย เช่น กับคำา ภาพ หรือความคิดต่าง ๆ (ตัวอย่างเช่น เด็กจำาไม่ ้ได้ว่าค่ายบางระจันอยู่จังหวัดอะไร จึงโยงความคิดว่า ชาวบางระจันเป็นคนกล้าหาญ สัตว์ที่ถือว่าเก่งกล้าคือสิงโต บางระจันจึงอยู่ที่จังหวัดสิงห์บุรี) หรือให้หาหรือคิดคำาสำาคัญ ที่สามารถกระตุนความจำาในข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกัน เช่น สูตร 4 M หรือทดแทนคำาที่ไม่คุ้นด้วย คำา ภาพ ้หรือความหมายอืน หรือการใช้การเชื่อมโยงความคิดเข้าด้วยกัน ่ขั้นที่ 3 การใช้จินตนาการเพื่อให้จดจำาสาระได้ดีขึ้น ให้ผู้เรียนใช้เทคนิคการเชื่อมโยงสาระต่าง ๆ ให้เห็นเป็นภาพที่น่าขบขัน เกินความเป็นจริงขั้นที่ 4 การฝึกใช้เทคนิคต่าง ๆ ที่ทำาไว้ข้างต้นในการทบทวนความรู้และเนื้อหาสาระต่างๆ จนกระทั่งจดจำาได้ผลที่ผู้เรียนจะได้รับจากการเรียนตามรูปแบบการเรียนโดยใช้เทคนิคช่วยความจำาต่าง ๆ ของรูปแบบ นอกจากจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถจดจำาเนื้อหาสาระต่างๆ ที่เรียนได้ดีและได้นานแล้ว ยังช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้กลวิธีการจำาซึ่งสามารถนำาไปใช้ในการเรียนรู้สาระอื่น ๆ ได้อีกมาก1.5 รูป แบบการเรีย นการสอนโดยใช้ผ ัง กราฟิก (Graphic OrganizerInstructional Model)ก. ทฤษฎี/ หลัก การ/แนวคิด ของรูป แบบกระบวนการเรียนรู้เกิดขึ้นได้จากองค์ประกอบสำาคัญ 3 ส่วนด้วยกันได้แก่ ความจำาข้อมูลกระบวนการทางปัญญา และเมตาคอคนิชน ความจำาข้อมูลประกอบด้วย ความจำาจากการรู้สึก ั่สัมผัส(sensory memory) ซึ่งจะเก็บข้อมูลไว้เพียงประมาณ 1 วินาทีเท่านั้น ความจำาระยะสั้น(short-term memory) หรือความจำาปฏิบัติการ(working memory) ซึ่งเป็นความจำาที่เกิดขึ้นหลังจากการตีความสิ่งเร้าที่รับรู้มาแล้ว ซึ่งจะเก็บข้อมูลไว้ได้ชั่วคราวประมาณ 20 วินาที และทำาหน้าที่ในการคิด ส่วนความจำาระยะยาว (long- term memory) เป็นความจำาที่มีความคงทน มีความจุไม่จำากัดสามารถคงอยู่เป็นเวลานาน เมื่อต้องการใช้จะสามารถเรียกคืนได้ สิ่งที่อยู่ใน

  15.          9.9ความจำาระยะยาวมี 2 ลักษณะ คือ ความจำาเหตุการณ์ (episodic memory) และความจำาความหมาย(semantic memory) เกี่ยวกับข้อเท็จจริง มโนทัศน์ กฎ หลักการต่าง ๆ องค์ประกอบด้านความจำาข้อมูลนี้ จะมีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด ขึ้นกับกระบวนการทางปัญญาของบุคคลนั้นซึ่งประกอบด้วย 1) การใส่ใจ หากบุคคลมีความใส่ใจในข้อมูลที่รับเข้ามาทางการสัมผัส ข้อมูลนันก็จะถูกนำาเข้าไปสู่ความจำาระยะสั้นต่อไป หากไม่ได้รับการใส่ใจ ข้อมูลนั้นก็จะเลือนหายไป ้อย่างรวดเร็ว 2) การรับรู้ เมื่อบุคคลใส่ใจในข้อมูลใดที่รับเข้ามาทางประสาทสัมผัส บุคคลก็จะรับรู้ข้อมูลนั้น และนำาข้อมูลนี้เข้าสู่ความจำาระยะสั้นต่อไป ข้อมูลที่รับรู้นี้จะเป็นความจริงตามการรับรู้ของบุคคลนั้น ซึ่งอาจไม่ใช่ความจริงเชิงปรนัย เนื่องจากเป็นความจริงที่ผ่านการตีความจากบุคคลนันมาแล้ว ้ 3) การทำาซำ้า หากบุคคลมีกระบวนการรักษาข้อมูล โดยการทบทวนซำ้าแล้วซำ้าอีก ข้อมูลนั้นก็จะยังคงถูกเก็บรักษาไว้ในความจำาปฏิบัติการ 4) การเข้ารหัส หากบุคคลมีกระบวนการสร้างตัวแทนทางความคิดเกี่ยวกับข้อมูลนั้นโดยมีการนำาข้อมูลนั้นเข้าสู่ความจำาระยะยาวและเชื่อมโยงเข้ากับสิ่งที่มีอยู่แล้วในความจำาระยะยาว การเรียนรู้อย่างมีความหมายก็จะเกิดขึ้น 5) การเรียกคืน การเรียกคืนข้อมูลที่เก็บไว้ในความจำาระยะยาวเพื่อนำาออกมาใช้ มีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับการเข้ารหัส หากการเข้ารหัสทำาให้เกิดการเก็บความจำาได้ดีมีประสิทธิภาพ การเรียกคืนก็จะมีประสิทธิภาพตามไปด้วยด้วยหลักการดังกล่าว การเรียนรู้จึงเป็นการสร้างความรู้ของบุคคล ซึ่งต้องใช้กระบวนการเรียนรู้อย่างมีความหมาย 4 ขั้นตอนได้แก่ (1) การเลือกรับข้อมูลที่สัมพันธ์กัน (2) การจัดระเบียบข้อมูลเข้าสู่โครงสร้าง (3) การบูรณาการข้อมูลเดิม และ (4) การเข้ารหัสข้อมูลการเรียนรู้เพื่อให้คงอยู่ในความจำาระยะยาว และสามารถเรียกคืนมาใช้ได้โดยง่าย ด้วยเหตุนี้ การให้ผู้เรียนมีโอกาสเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับโครงสร้างความรู้เดิม ๆ และนำาความรูความเข้าใจมาเข้ารหัสหรือ ้สร้างตัวแทนทางความคิดที่มีความหมายต่อตนเองขึ้น จะส่งผลให้การเรียนรู้นนคงอยู่ในความจำา ั้ระยะยาวและสามารถเรียกคืนมาใช้ได้ข. วัต ถุป ระสงค์ข องรูป แบบเพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้เชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิมและสร้างความหมายและความเข้าใจในเนื้อหาสาระหรือข้อมูลที่เรียนรู้ และจัดระเบียบข้อมูลที่เรียนรู้ด้วยผังกราฟิก ซึ่งจะช่วยให้ง่ายแก่การจดจำาค. กระบวนการเรีย นการสอนของรูป แบบรูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้ผังกราฟิก มีหลายรูปแบบ ในที่นี้จะนำาเสนอไว้ 4 รูปแบบ ดังนี้1) รูป แบบการเรีย นการสอนโดยใช้ผ ัง กราฟิก ของ โจนส์แ ละคณะ (1989: 20-25)

  16.          10.10ประกอบด้วยขั้นตอนสำาคัญ ๆ 5 ขั้นตอนดังนี้1.1) ผู้สอนเสนอตัวอย่างการจัดข้อมูลด้วยผังกราฟิกที่เหมาะสมกับเนื้อหาและ วัตถุประสงค์1.2) ผู้สอนแสดงวิธีสร้างผังกราฟิก1.3) ผู้สอนชี้แจงเหตุผลของการใช้ผังกราฟิกนั้นและอธิบายวิธีการใช้1.4) ผู้เรียนฝึกการสร้างและใช้ผังกราฟิกในการทำาความเข้าใจเนื้อหาเป็นรายบุคคล1.5) ผู้เรียนเข้ากลุ่มและนำาเสนอผังกราฟิกของตนแลกเปลี่ยนกัน2) รูป แบบการเรีย นการสอนโดยใช้ผ ัง กราฟิก ของคล้า ก (Clark,1991: 526-524)ประกอบด้วยขั้นตอนการเรียนการสอนที่สำาคัญ ๆ ดังนี้ก. ขั้น ก่อ นสอน2.1) ผู้สอนพิจารณาลักษณะของเนื้อหาที่จะสอนสาระนั้นและวัตถุประสงค์ของการสอนเนื้อหาสาระนั้น2.2) ผู้สอนพิจารณาและคิดหาผังกราฟิกหรือวิธีหรือระบบในการจัดระเบียบเนื้อหาสาระนั้น ๆ2.3) ผู้สอนเลือกผังกราฟิก หรือวิธีการจัดระเบียบเนื้อหาที่เหมาะสมที่สุด2.4) ผู้สอนคาดคะเนปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นแก่ผู้เรียนในการใช้ผังกราฟิกนั้นข. ขั้น สอน2.1) ผู้สอนเสนอผังกราฟิกที่เหมาะสมกับลักษณะของเนื้อหาสาระแก่ผู้เรียน2.2) ผู้เรียนทำาความเข้าใจเนื้อหาสาระและนำาเนื้อหาสาระใส่ลงในผังกราฟิกตามความเข้าใจของตน2.3) ผู้สอนซักถาม แก้ไขความเข้าใจผิดของผู้เรียน หรือขยายความเพิ่มเติม2.4) ผู้สอนกระตุ้นให้ผู้เรียนคิดเพิ่มเติม โดยนำาเสนอปัญหาที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา แล้วให้ผู้เรียนใช้ผังกราฟิกเป็นกรอบในการคิดแก้ปัญหา2.5) ผู้สอนให้ข้อมูลป้อนกลับแก่ผู้เรียน3) รูป แบบการเรีย นการสอนโดยใช้ผ ัง กราฟิก ของจอยส์แ ละคณะ (Joyce et al.,1992: 159-161) จอยส์และคณะ นำารูปแบบการเรียนการสอนของคล้ากมาปรับใช้โดยเพิ่มเติมขั้นตอนเป็น 8 ขั้น ดังนี้3.1) ผู้สอนชี้แจงจุดมุ่งหมายของบทเรียน3.2) ผู้สอนนำาเสนอผังกราฟิกที่เหมาะสมกับเนื้อหา3.3) ผู้สอนกระตุ้นให้ผู้เรียนระลึกถึงความรู้เดิมเพื่อเตรียมสร้างความสัมพันธ์กับความรูใหม่ ้3.4) ผู้สอนเสนอเนื้อหาสาระที่ต้องการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้3.5) ผู้สอนเชื่อมโยงเนื้อหาสาระกับผังกราฟิก และให้ผู้เรียนนำาเนื้อหาสาระใส่ลงในผังกราฟิกตามความเข้าใจของตน3.6) ผู้สอนให้ความรู้เชิงกระบวนการโดยชี้แจงเหตุผลในการใช้ผังกราฟิกและวิธีใช้ผังกราฟิก3.7) ผู้สอนและผู้เรียนอภิปรายผลการใช้ผังกราฟิกกับเนื้อหา

  17.          11.13.8) ผู้สอนซักถาม ปรับความเข้าใจและขยายความจนผู้เรียนเกิดความเข้าใจกระจ่างชัด4) รูป แบบการเรีย นการสอนโดยใช้ผ ัง กราฟิก ของสุป รีย า ตัน สกุล (2540: 40)สุปรียา ตันสกุล ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง ” ผลของการใช้รูปแบบการสอนแบบการจัดข้อมูลด้วยแผนภาพ (Graphic Organizers) ที่มีต่อสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนและความสามารถทางการแก้ปัญหาของนักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 2 คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล”ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษากลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนและความสามารถทางการแก้ปัญหาสูงกว่านักศึกษากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ .001 รูปแบบการเรียนการสอนดังกล่าวประกอบด้วยขั้นตอนสำาคัญ 7 ขั้นตอนดังนี้4.1) การทบทวนความรู้เดิม4.2) การชี้แจงวัตถุประสงค์ ลักษณะของบทเรียน ความรู้ที่คาดหวังให้เกิดแก่ผู้เรียน4.3) การกระตุ้นให้ผู้เรียนตระหนักถึงความรู้เดิม เพื่อเตรียมสร้างความสัมพันธ์กับสิ่งที่เรียนและการจัดเนื้อหาสาระด้วยแผนภาพ4.4) การนำาเสนอตัวอย่างการจัดเนื้อหาสาระด้วยแผนภาพ ที่เหมาะกับลักษณะของเนื้อหาความรู้ที่คาดหวัง4.5) ผู้เรียนรายบุคคลทำาความเข้าใจเนื้อหาและฝึกใช้แผนภาพ4.6) การนำาเสนอปัญหาให้ผู้เรียนใช้แผนภาพเป็นกรอบในการแก้ปัญหา4.7) การทำาความเข้าใจให้กระจ่างชัดง. ผลที่ผ ู้เ รีย นจะได้ร ับ จากการเรีย นตามรูป แบบผู้เรียนจะมีความเข้าใจในเนื้อหาสาระที่เรียนและจดจำาสิ่งที่เรียนรู้ได้ดี นอกจากนั้นยังได้เรียนรู้การใช้ผังกราฟิกในการเรียนรู้ตาง ๆ ซึ่งผู้เรียนสามารถนำาไปใช้ในการเรียนรู้เนื้อหาสาระอื่น ๆ ่ได้อีกมาก2. รูป แบบการเรีย นการสอนที่เ น้น การพัฒ นาด้า นจิต พิส ัย(Affective Domain)รูปแบบการเรียนการสอนในหมวดนี้เป็นรูปแบบที่มุ่งช่วยพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความรู้สึก เจตคติค่านิยม คุณธรรม และจริยธรรมที่พึงประสงค์ ซึ่งเป็นเรื่องที่ยากแก่การพัฒนาหรือปลูกฝัง การจัดการเรียนการสอนตามรูปแบบการสอนที่เพียงให้เกิดความรู้ความเข้าใจ มักไม่เพียงพอต่อการให้ผู้เรียนเกิดเจตคติที่ดีได้ จำาเป็นต้องอาศัยหลักการและวิธีการอื่น ๆ เพิ่มเติม รูปแบบที่คัดสรรมานำาเสนอในที่นี้มี 4 รูปแบบดังนี้2.1 รูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดการพัฒนาด้านจิตพิสัยของบลูม2.2 รูปแบบการเรียนการสอนโดยการซักค้าน2.3 รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้บทบาทสมมติ

  18.             12.122.1 รูป แบบการเรีย นการสอนตามแนวคิด การพัฒ นาด้า นจิต พิส ัย ของบลูม(Instructional Model Based on Bloom’s Affective Domain)ก. ทฤษฎี/ หลัก การ/แนวคิด ของรูป แบบบลูม (Bloom, 1956) ได้จำาแนกจุดมุงหมายทางการศึกษาออกเป็น 3 ด้าน คือด้านความรู้ (cognitive domain) ด้านเจตคติหรือความรู้สึก(affective domain) และด้านทักษะ (psycho-motor domain) ซึ่งในด้านเจตคติหรือความรู้สึกนัน บลูมได้จัดขั้นการเรียนรู้ไว้ 5 ขั้นประกอบด้วย ้ 1) ขั้นการรับรู้ ซึ่งก็หมายถึง การที่ผู้เรียนได้รับรู้ค่านิยมที่ต้องการจะปลูกฝังในตัวผู้ เรียน 2) ขั้นการตอบสนอง ได้แก่การที่ผู้เรียนได้รับรู้และเกิดความสนใจในค่านิยมนั้น แล้วมี โอกาสได้ตอบสนองในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง 3.) ขั้นการเห็นคุณค่า เป็นขั้นที่ผู้เรียนได้รับประสบการณ์เกี่ยวกับค่านิยมนั้น แล้วเกิด เห็นคุณค่าของค่านิยมนั้น ทำาให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อค่านิยมนัน ้ 4) ขั้นการจัดระบบ เป็นขั้นที่ผู้เรียนรับค่านิยมที่ตนเห็นคุณค่านั้นเข้ามาอยู่ในระบบค่า นิยมของตน 5) ขั้นการสร้างลักษณะนิสัย เป็นขั้นที่ผู้เรียนปฏิบัตตนตามค่านิยมที่รับมาอย่าง ิ สมำ่าเสมอ และทำาจนกระทั่งเป็นนิสัย ถึงแม้วาบลูมได้นำาเสนอแนวคิดดังกล่าวเพื่อใช้ในการกำาหนดวัตถุประสงค์ในการเรียน ่การสอนก็ตาม แต่ก็สามารถนำามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนเพื่อช่วยปลูกฝังค่านิยมให้แก่ผู้เรียนได้ข. วัต ถุป ระสงค์ข องรูป แบบ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาความรู้สึก/เจตคติ/ค่านิยม/คุณธรรมหรือจริยธรรมที่พึงประสงค์ อันจะนำาไปสู่การเปลียนแปลงพฤติกรรมให้เป็นไปตาม ่ความต้องการค. กระบวนการเรีย นการสอนของรูป แบบการสอนเพื่อปลูกฝังค่านิยมใด ๆ ให้แก่ผู้เรียน สามารถดำาเนินการตามลำาดับขั้นของวัตถุประสงค์ทางด้านเจตคติของบลูมได้ดังนี้ ขั้นที่ 1 การรับรู้คานิยม ่ ผู้สอนจัดประสบการณ์หรือสถานการณ์ที่ช่วยให้ผู้เรียนได้รับรู้คานิยมนั้นอย่างใส่ใจ ่ เช่น เสนอกรณีตัวอย่างที่เป็นประเด็นปัญหาขัดแย้งเกี่ยวกับค่านิยมนั้น คำาถามที่ ท้าทายความคิดเกี่ยวกับค่านิยมนัน เป็นต้น ในขั้นนี้ผู้สอนควรพยายามกระตุ้นให้ผู้ ้ เรียนเกิดพฤติกรรมดังนี้ 1) การรู้ตัว

  19.           13.13 2) การเต็มใจรับรู้ 3) การควบคุมการรับรู้ขั้นที่ 2 การตอบสนองต่อค่านิยม ผู้สอนจัดสถานการณ์ให้ผู้เรียนมีโอกาสตอบสนองต่อค่านิยมนั้นในลักษณะใด ลักษณะหนึ่ง เช่น ให้พูดแสดงความคิดเห็นต่อค่านิยมนัน ให้ลองทำาตามค่านิยมนัน ้ ้ ให้สัมภาษณ์หรือพูดคุยกับผู้ที่มีค่านิยมนัน เป็นต้น ในขั้นนี้ผู้สอนควรพยายามกระตุ้น ้ ให้ผู้เรียนเกิดพฤติกรรมดังนี้ 1) การยินยอมตอบสนอง 2) การเต็มใจตอบสนอง 3) ความพึงพอใจในการตอบสนองขั้นที่ 3 การเห็นคุณค่าของค่านิยม ผู้สอนจัดประสบการณ์หรือสถานการณ์ที่ช่วยให้ผู้เรียนได้เห็นคุณค่าของค่านิยมนั้น เช่น การให้ลองปฏิบติตามค่านิยมแล้วได้รับการตอบสนองในทางที่ดี เห็นประโยชน์ ั ที่เกิดขึ้นกับตนหรือบุคคลอื่นที่ปฏิบัตตามค่านิยมนั้น เห็นโทษหรือได้รับโทษจากการ ิ ละเลยไม่ปฏิบัตตามค่านิยมนั้น เป็นต้น ในขั้นนี้ผู้สอนควรพยายามกระตุนให้ผู้เรียน ิ ้ เกิดพฤติกรรมดังนี้ 1) การยอมรับในคุณค่านัน ้ 2) การชื่นชอบในคุณค่านัน ้ 3) ความผูกพันในคุณค่านั้นขั้นที่ 4 การจัดระบบค่านิยม เมื่อผู้เรียนเห็นคุณค่าของค่านิยมและเกิดเจตคติที่ดีต่อค่านิยมนั้น และมีความโน้ม เอียงที่จะรับค่านิยมนั้นมาใช้ในชีวตของตน ผู้สอนควรกระตุ้นให้ผู้เรียนพิจารณาค่า ิ นิยมนันกับค่านิยมหรือคุณค่าอื่น ๆ ของตน ในขั้นนี้ผู้สอนควรกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิด ้ พฤติกรรมสำาคัญดังนี้ 1) การสร้างมโนทัศน์ในคุณค่านั้น 2) การจัดระบบในคุณค่านั้นขั้นที่ 5 การสร้างลักษณะนิสัย ผู้สอนส่งเสริมให้ผู้เรียนปฏิบติตนตามค่านิยมนั้นอย่างสมำ่าเสมอโดยติดตามผลการ ั ปฏิบติและให้ข้อมูลป้อนกลับและการเสริมแรงเป็นระยะ ๆ จนกระทั่งผู้เรียนสามารถ ั ปฏิบติได้จนเป็นนิสัย ในขั้นนี้ผู้สอนควรพยายามกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดพฤติกรรมดังนี้ ั 1) การมีหลักยึดในการตัดสินใจ 2) การปฏิบติตามหลักยึดนันจนเป็นนิสย ั ้ ั 3) การดำาเนินการในขั้นตอนทั้ง 5 ไม่สามารถทำาได้ในระยะเวลาอันสั้น ต้อง

  20.           14.14 อาศัยเวลา โดยเฉพาะในขั้นที่ 4 และ 5 ต้องการเวลาในการปฏิบัติ ซึ่งอาจจะ มากน้อยแตกต่างกันไปในผู้เรียนแต่ละคนง. ผลที่ผ ู้เ รีย นจะได้ร ับ จากการเรีย นตามรูป แบบผู้เรียนจะได้รับการปลูกฝังค่านิยมที่พึงประสงค์จนถึงระดับที่สามารถปฏิบัติได้จนเป็นนิสัย นอกจากนั้นผู้เรียนยังได้เรียนรู้กระบวนการในการปลูกฝังค่านิยมให้เกิดขึ้น ซึ่งผู้เรียนสามารถนำาไปปลูกฝังค่านิยมอื่น ๆให้แก่ตนเองหรือผู้อื่นต่อไป2.2 รูป แบบการเรีย นการสอนโดยการซัก ค้า น (Jurisprudential Model)ก. ทฤษฎี/ หลัก การ/แนวคิด ของรูป แบบจอยส์ และ วีล (Joyce & weil, 1996 :106-128) พัฒนารูปแบบนี้ขึ้นจากแนวคิดของโอลิเวอร์และ เชเวอร์ (Oliver and Shaver) เกี่ยวกับการตัดสินใจอย่างชาญฉลาดในประเด็นปัญหาขัดแย้งต่าง ๆ ซึ่งมีส่วนเกี่ยวพันกับเรื่องค่านิยมที่แตกต่างกัน ปัญหาดังกล่าวอาจเป็นปัญหาทางสังคม หรือปัญหาส่วนตัว ที่ยากแก่การตัดสินใจการตัดสินใจอย่างชาญฉลาด ก็คือการสามารถเลือกทางที่เป็นประโยชน์มากที่สุด โดยกระทบต่อสิ่งอื่น ๆ น้อยที่สุด ผู้เรียนควรได้รับการฝึกฝนให้รู้จักวิเคราะห์ปัญหา ประมวลข้อมูล ตัดสินใจเลือกทางเลือกอย่างมีเหตุผล และแสดงจุดยืนของตนได้ ผู้สอนสามารถใช้กระบวนการซักค้านอันเป็นกระบวนการที่ใช้กันในศาล มาทดสอบผู้เรียนว่าจุดยืนที่ตนแสดงนันเป็นจุดยืนที่แท้จริง ้ของตนหรือไม่ โดยการใช้คำาถามซักค้านที่ช่วยให้ผู้เรียนย้อนกลับไปพิจารณาความคิดเห็นอันเป็นจุดยืนของตน ซึ่งอาจทำาให้ผู้เรียนปรับเปลี่ยนความคิดเห็นหรือจุดยืนของตน หรือยืนยันจุดยืนของตนอย่างมั่นใจขึ้นข. วัต ถุป ระสงค์ข องรูป แบบ รูปแบบนี้เหมาะสำาหรับสอนสาระที่เกี่ยวข้องกับประเด็นปัญหาขัดแย้งต่าง ๆ ซึ่งยากแก่การตัดสินใจ การสอนตามรูปแบบนี้จะช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้กระบวนการในการตัดสินใจอย่างชาญฉลาด รวมทั้งวิธีการทำาความกระจ่างในความคิดของตนค. กระบวนการเรีย นการสอนของรูป แบบขั้น ที่ 1 นำา เสนอกรณีป ัญ หา ประเด็นปัญหาที่นำาเสนอควรเป็นประเด็นที่มีทางออกให้คิดได้หลายคำาตอบ ควรเป็นประโยคที่มีคำาว่า “ควรจะ...” เช่น ควรมีกฎหมายให้มีการทำาแท้งได้อย่างเสรีหรือไม่ ควรมีการจดทะเบียนโสเภณีหรือไม่ ควรออกกฎหมายห้ามคนสูบบุหรี่หรือไม่? ควรอนุญาตให้นักเรียนประกวดนางงามหรือไม่ อย่างไรก็ตามควรหลีกเลี่ยงประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับความเชื่อทางศาสนาที่แตกต่างกัน วิธีการนำาเสนออาจกระทำาได้หลายวิธี เช่น การอ่านเรื่องให้ฟัง การให้ดูภาพยนตร์ การเล่าประวัติความเป็นมา ครูต้องระลึกเสมอว่าการนำาเสนอปัญหานันต้องทำาให้นักเรียนได้รู้ข้อเท็จ ้

  21.           15.15จริงที่เกี่ยวข้องกับปัญหา รู้ว่าใครทำาอะไร เมื่อใด เพราะเหตุใด และมีแง่มุมของปัญหาที่ขัดแย้งกันอย่างไร ให้ผู้เรียนประมวลข้อเท็จจริงจากกรณีปัญหาและวิเคราะห์หาค่านิยมที่เกี่ยวข้องกันขั้น ที่ 2 ให้ผ ู้เ รีย นแสดงจุด ยืน ของตนเอง ผู้สอนใช้คำาถามที่มีลักษณะดังตัวอย่างต่อไปนี้ 3.1) ถ้ามีจุดยืนอื่น ๆ ให้เลือกอีก ผู้เรียนยังยืนยันที่จะเลือกจุดยืนเดิมหรือไม่ เพราะอะไร 3.2) หากสถานการณ์แปรเปลียนไปผู้เรียนยังจะยืนยันที่จะเลือกจุดยืนเดิมนี้หรือไม่ ่เพราะอะไร 3.3) ถ้าผู้เรียนต้องเผชิญกับสถานการณ์อื่น ๆ จะยังยืนยันจุดยืนนี้หรือไม่ 3.4) ผู้เรียนมีเหตุผลอะไรที่ยึดมันกับจุดยืนนัน จุดยืนนันเหมาะสมกับสถานการณ์ที่เป็น ่ ้ ้ปัญหานั้นหรือไม่ 3.5) เหตุผลที่ยึดมั่นกับจุดยืนนั้นเป็นเหตุผลที่เหมาะกับสถานการณ์ที่เป็นอยู่หรือไม่ 3.6) ผู้เรียนมีข้อมูลเพียงพอที่จะสนับสนุนจุดยืนนั้นหรือไม่ 3.7) ข้อมูลที่ผู้เรียนใช้เป็นพื้นฐานของจุดยืนนันถูกต้องหรือไม่ ้ 3.8) ถ้ายึดจุดยืนนี้แล้วผลที่เกิดขึ้นตามมาคืออะไร 3.9) เมื่อรู้ผลที่เกิดตามมาแล้ว ผู้เรียนยังยืนยันที่จะยึดถือจุดยืนนี้อีกหรือไม่ขั้น ที่ 3 ผู้เ รีย นทบทวนในค่า นิย มของตนเองผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนพิจารณาปรับเปลี่ยน หรือยืนยันในค่านิยมที่ยึดถือขั้น ที่ 4 ผู้เ รีย นตรวจสอบและยืน ยัน จุด ยืน ใหม่ / เก่า ของตนอีก ครั้ง และผู้เรียนพยายามหาข้อเท็จจริงต่าง ๆ มาสนับสนุนค่านิยมของตนเพื่อยืนยันว่าสิ่งที่ตนยึดถืออยู่นั้นเป็นค่านิยมที่แท้จริงของตนง. ผลที่ผ ู้เ รีย นจะได้ร ับ จากการเรีย นตามรูป แบบผู้เรียนจะเกิดความกระจ่างในความคิดของตนเองเกี่ยวกับค่านิยม และเกิดความเข้าใจในตนเอง รวมทั้งผู้สอนได้เรียนรูและเข้าใจความคิดของผู้เรียน ช่วยให้ผู้เรียนมีการมอง ้โลกในแง่มุมกว้างขึ้น นอกจากนี้ยังช่วยพัฒนาความสามารถในการตัดสินใจของผู้เรียนด้วย2.3 รูป แบบการเรีย นการสอนโดยใช้บ ทบาทสมมติ (Role Playing Model)ก. ทฤษฎี/ หลัก การ/แนวคิด ของรูป แบบรูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้บทบาทสมมติ พัฒนาขึ้นโดย แชฟเทลและแชฟเทล (Shafteland Shaftel, 1967: 67-71) ซึ่งให้ความสำาคัญกับปฏิสัมพันธ์ทางสังคมของบุคคล เขากล่าวว่าบุคคลสามารถเรียนรู้เกี่ยวกับตนเองได้จากการปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น และความรู้สึกนึกคิดของบุคคลก็เป็นผลมาจากมีการปะทะสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมรอบข้าง และได้สั่งสมไว้ภายในลึก ๆโดยที่บุคคลอาจไม่รู้ตัวเลยก็ได้ การสวมบทบาทสมมติเป็นวิธีการที่ช่วยให้บุคคลได้แสดงความ
  22.  
  23.          16.16รู้สึกนึกคิดต่าง ๆ ที่อยู่ภายในออกมา ทำาให้สิ่งที่ซ่อนเร้นอยู่เปิดเผยออกมา และนำามาศึกษาทำาความเข้าใจกันได้ ช่วยให้บคคลเกิดการเรียนรู้เกี่ยวกับตนเอง เกิดความเข้าใจในตนเอง ใน ุขณะเดียวกัน การที่บุคคลสวมบทบาทของผู้อื่น ก็สามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจในความคิด ค่านิยม และพฤติกรรมของผู้อื่นได้เช่นเดียวกันข. วัต ถุป ระสงค์ข องรูป แบบ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจในตนเอง เข้าใจในความรู้สึกและพฤติกรรมของผู้อื่น และเกิดการปรับเปลี่ยนเจตคติ ค่านิยม และพฤติกรรมของตนให้เป็นไปในทางที่เหมาะสมค. กระบวนการเรีย นการสอนของรูป แบบขั้นที่ 1 นำาเสนอสถานการณ์ปัญหาและบทบาทสมมติ ผู้สอนนำาเสนอสถานการณ์ ปัญหา และบทบาทสมมติ ที่มีลักษณะใกล้เคียงกับความเป็นจริง และมีระดับยากง่ายเหมาะสมกับวัยและความสามารถของผู้เรียน บทบาทสมมติที่กำาหนด จะมีรายละเอียดมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ในการเรียนการสอน ถ้าต้องการให้ผู้เรียนเปิดเผยความคิด ความรู้สึกของตนมาก บทบาทที่ให้ควรมีลักษณะเปิดกว้าง กำาหนดรายละเอียดให้น้อย แต่ถ้าต้องการจะเจาะประเด็นเฉพาะอย่าง บทบาทสมมติอาจกำาหนดรายละเอียด ควบคุมการแสดงของผู้เรียนให้มุ่งไปที่ประเด็นเฉพาะนัน ้ขั้นที่ 2 เลือกผู้แสดง ผู้สอนและผู้เรียนจะร่วมกันเลือกผู้แสดง หรือให้ผู้เรียนอาสาสมัครก็ได้แล้วแต่ความเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ และการวินิจฉัยของผู้สอนขั้นที่ 3 จัดฉาก การจัดฉากนั้นจัดได้ตามความพร้อมและสภาพการณ์ที่เป็นอยู่ขั้นที่ 4 เตรียมผู้สังเกตการณ์ ก่อนการแสดงผู้สอนจะต้องเตรียมผู้ชมว่า ควรสังเกตอะไร และปฏิบติตัวอย่างไรเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ที่ดี ัขั้นที่ 5 แสดง ผู้แสดงมีความสำาคัญเป็นอย่างยิงในการที่จะทำาให้ผู้ชมเข้าใจเรื่องราวหรือ ่เหตุการณ์ ผู้แสดงจะต้องแสดงออกตามบทบาทที่ตนได้รับให้ดีที่สุดขั้นที่ 6 อภิปรายและประเมินผล การอภิปรายผลส่วนใหญ่จะแบ่งเป็นกลุ่มย่อย การอภิปรายจะเป็นการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเหตุการณ์ การแสดงออกของผู้แสดง และควรเปิดโอกาสให้ผู้แสดงได้แสดงความคิดเห็นด้วยขั้นที่ 7 แสดงเพิ่มเติม ควรมีการแสดงเพิ่มเติมหากผู้เรียนเสนอแนะทางออกอื่นนอกเหนือจากที่ได้แสดงไปแล้ว

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น